โลโก้เว็บไซต์ พิธีทำบุญตักบาตร-โครงการสานวัฒนธรรมสัมพันธ์-2566-มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | ศูนย์วัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

 Tags : พิธีทำบุญตักบาตร-โครงการสานวัฒนธรรมสัมพันธ์-2566-มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา


กลุ่มงานยุทธศาสตร์ SPU ลงพื้นที่ประเมินตรวจติดตามโครงการ Pre-Talent Mobility ประจำปี 2566 โครงการจิบกาแฟ แลดอย ผ่อกอยม้ง : การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอย่างสร้างสรรค์ บ้านขุนช่างเคี่ยน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ นางสาวอำพร กันทา หัวหน้าโครงการ ร่วมกับ วิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวิถีวัฒนธรรมบ้านขุนช่างเคี่ยน ต.ช้างเผือก อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่
อังคาร 12 ธันวาคม 2566 / ข่าวกิจกรรม ภาพบรรยากาศ

เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2566 กลุ่มงานยุทธศาสตร์ SPU นำโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ว่าที่ร้อยโทสุรพิน พรมแดน หัวหน้ากลุ่มงานยุทธศาสตร์ SPU พร้อมคณะ ได้ลงพื้นที่ ณ สถานประกอบการ ณ วิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวิถีวัฒนธรรมบ้านขุนช่างเคี่ยน ต.ช้างเผือก อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ เพื่อประชุมประเมินตรวจติดตามโครงการ Pre-Talent Mobility ประจำปี 2566 และสำรวจโจทย์ความต้องการร่วมกับสถานประกอบการเพื่อต่อยอดงานวิจัย ณ สถานประกอบการ "โครงการจิบกาแฟ แลดอย ผ่อกอยม้ง : การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอย่างสร้างสรรค์ บ้านขุ... >> อ่านต่อ


กลุ่มงานยุทธศาสตร์ SPU ลงพื้นที่ประเมินตรวจติดตามโครงการ Pre-Talent Mobility ประจำปี 2566 โครงการแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ดอกไม้กินได้ด้วยกระบวนการทำแห้งแบบแช่เยือกแข็งเพื่อการส่งออก หัวหน้าโครงการ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์เพ็ญวรัตน์ พันธ์ภัทรชัย ร่วมกับบริษัทกระซิบรักฟาร์ม จำกัด ตำบลยางเนิ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่
ศุกร์ 17 พฤศจิกายน 2566 / ข่าวกิจกรรม ภาพบรรยากาศ

เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2566 กลุ่มงานยุทธศาสตร์ SPU นำโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ว่าที่ร้อยโทสุรพิน พรมแดน พร้อมคณะ ได้ลงพื้นที่ ณ สถานประกอบการ ณ บริษัทกระซิบรักฟาร์ม จำกัด ตำบลยางเนิ้ง  อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อประชุมประเมินตรวจติดตามโครงการ Pre-Talent Mobility ประจำปี 2566 และสำรวจโจทย์ความต้องการร่วมกับสถานประกอบการเพื่อต่อยอดงานวิจัย ณ สถานประกอบการ "โครงการแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ดอกไม้กินได้ด้วยกระบวนการทำแห้งแบบแช่เยือกแข็งเพื่อการส่งออก ของ ผู้ช่วยศาสตราจารย์เพ็ญวรัตน์  พันธ์ภัทรช... >> อ่านต่อ


KBS No.40 การออกแบบจากต้นน้ำหลวง@เมืองกุงเชียงใหม่
พุธ 15 พฤศจิกายน 2566 / คลังความรู้

  การออกแบบจากต้นน้ำหลวง@เมืองกุงเชียงใหม่  โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรกานต์ จันทรวงศ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภัทราวดี ธงงาม ณภดล เจนวินิจฉัย จุรีพร เลือกหา วันชัยยุทธ วงษ์เทพ สุทธปรีชา จริยางามวงศ์ ธนิตพงศ์ พุทธวงศ์ กิตติกุล ศิริเมืองมูล จำนวน 40 หน้า พิมพ์ครั้งที่ 1 ปีพิมพ์ 2566   ISBN 978-616-8337-14-1 ISB... >> อ่านต่อ


KBS No.39 Found...Mae Chaem ถอดรหัสทุนทางวัฒนธรรมเมืองแม่แจ่ม
พุธ 15 พฤศจิกายน 2566 / คลังความรู้

  Found...Mae Chaem ถอดรหัสทุนทางวัฒนธรรมเมืองแม่แจ่ม โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภัทราวดี ธงงาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์อรนุช คำแปน ปิยะนุช เจดีย์ยอด วันชัยยุทธ วงษ์เทพ อนวัช จิตต์ปรารพ ดร.ศศิพัชร์ สันกลกิจ ดร.กนกวรรณ คชสีห์ จุรีพร เลือกหา ศักดิ์รินทร์ ชาวงิ้ว จำนวน 40 หน้า พิมพ์ครั้งที่ 1 ปีพิมพ์ 2566   ISBN 978-616-8337... >> อ่านต่อ



กลุ่มงานยุทธศาสต์ SPU ร่วมสืบสานประเพณีรดน้ำดำหัว ปี๋ใหม่เมือง ประจำปี 2566
พฤหัสบดี 20 เมษายน 2566 / ข่าวกิจกรรม

เมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ.2566 กลุ่มงานยุทธศาสตร์ SPU มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา นำโดย รองศาสตราจารย์อุเทน คำน่าน รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนาระบบอย่างยั่งยืน, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยโทสุรพิน พรมเเดน พร้อมคณะ ได้ร่วมสืบสานประเพณี สระเกล้าดำหัว สุมาคาระวะ สืบสานประเพณีปี๋ใหม่เมือง และอวยพรชัย วาระดิถีปี๋ใหม่ล้านนา ประจำปี 2566 แก่คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา แก่ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จัตตุฤทธิ์ ทองปรอน รักษาราชการแทนอธิการบดี, รองศาสตราจารย์ ดร.ธีระศักดิ์ อุร... >> อ่านต่อ


KBS No.29 การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์แบบ NFT
ศุกร์ 12 มีนาคม 2564 / คลังความรู้

โดย พิชาดา ศรีจันทร์, เบญจรัตน์ เตรียมแรง, สิราณี คำลือ และ อรุโณทัย ตาโน เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา,2564. จำนวน 40 หน้า ISBN 978-974-625-921-7 (e-Book) เกี่ยวกับหนังสือ: หนังสือเรื่อง "การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์แบบ NFT" นี้ สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับการดำเนินการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์แบบ NFT ในโรงเรือนระบบปิด เป็นส่วนหนึ่งจากผลการทดลองของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ที่ได้รับการสนับสนุนจากส่วนสนับสนุนการดำเนินงานมูลนิธิโครงการหลวง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี... >> อ่านต่อ


รู้หรือไม่? Did you know?: มูลช้าง สามารถนำมาแปลงเป็นวัสดุเสริมแรงสำหรับสร้างเฟอร์นิเจอร์ทดแทนไม้ได้
พฤหัสบดี 3 ธันวาคม 2563 / คลังความรู้

คุยเฟื่องเรื่องเทคโนโลยีกับสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน(สถช.) กับ เรื่องราวรู้หรือไม่? .... วันนี้พี่ TechTalk  ขอแนะนำ "เก้าอี้พักผ่อนจากวัสดุผสมมูลช้าง" ผลงานการออกแบบเก้าอี้พักผ่อน และสร้างต้นแบบจากวัสดุผสมมูลช้าง จากผลงานวิจัยของนักวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เพื่อช่วยลดของเสียและช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม    มูลช้าง มูลช้าง สามารถนำไปหมุนเวียนใช้ในการผลิตปุ๋ยหมัก แก๊สชีวภาพ และกระดาษมูลช้าง ซึ่งเป็นวิ... >> อ่านต่อ


KBS No.23 แนวทางการจัดการดินและธาตุอาหาร พืชตระกูลส้มบนพื้นที่สูง
พุธ 2 กันยายน 2563 / คลังความรู้

แนวทางการจัดการดินและธาตุอาหาร พืชตระกูลส้มบนพื้นที่สูง โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยุทธนา เขาสุเมรุ รองศาสตราจารย์ชิติ ศรีตนทิพย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สันติ ช่างเจรจา ว่าที่ร้อยตรีรัชต์พงษ์ หอชัยรัตน์ นางสาวอัจฉรา ภาวศุทธิ์ นางสาวดารากร อัดฮาดศรี นางสาวธันชนิตา จันทร์กระจ่าง นางสาววันเพ็ญ ศรีแก้ว กรุงเทพฯ : สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ,2563. จำนวน 37 หน้า ISBN 978-974-326-675-1 ISBN 978-974-326-676-8 (หนังสือ... >> อ่านต่อ


จำนวนบทความ : 1 - 10 ทั้งหมด 15


ออกแบบและพัฒนาโดย สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา